ประเด็นตรวจราชการ 2567

ประเด็นการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 11 ปี 2567
ตัวชี้วัด เกณฑ์ แหล่งข้อมูล การดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ
เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ
Agenda based (นโยบายรัฐบาล ผู้บริหารระดับสูง ยุทธศาสตร์ชาติ)
ประเด็นที่ 1 Health For Wealth
 1.1 กัญชาทางแพทย์
  1.1.1 ร้อยละของผู้ป่วยที่มีการวินิจฉัยระยะประคับประคอง (Palliative Care) ที่ได้รับการรักษาด้วยยากัญชาทางการแพทย์* ≥ 5% HDC 3,736 328 8.78 กลุ่มงานคุ้มครองฯ
  1.1.2 ร้อยละของผู้ป่วยทั้งหมดที่ได้รับการรักษาด้วยยากัญชาทางการแพทย์ เพิ่ม 50% จากปี 64 ≥ 50% HDC 164 2,223 1,255.49 กลุ่มงานคุ้มครองฯ
  1.1.3 จำนวนงานวิจัยหรือการจัดการความรู้ด้านกัญชาทางการแพทย์ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (งานวิจัยอย่างน้อยเขตสุขภาพละ 2 เรื่อง และการจัดการความรู้ อย่างน้อยเขตสุขภาพละ 2 เรื่อง) ระดับจังหวัด งานวิจัย ≥1 เรื่อง และการจัดการความรู้ ≥1 เรื่อง 2 เรื่อง รายงาน 1 + 1 0 + 0 0.00 กลุ่มงานคุ้มครองฯ
  1.1.4 ร้อยละหน่วยบริการที่มีการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์
   - ร้อยละ รพศ./รพท./รพช. ที่มีการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์ 100% รายงาน 23 23 100.00 กลุ่มงานคุ้มครองฯ
   - ร้อยละ รพ.สต. มีกลุ่มงานคุ้มครองฯมีการให้บริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์ ≥ 80% รายงาน 33 33 100.00 กลุ่มงานแพทย์แผนไทย
 1.2 การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและการแพทย์
  1.2.1 อัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ได้รับมาตรฐานการท่องเที่ยว(ดำเนินการทุกจังหวัด มีจังหวัดมุ่งเป้า ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี กระบี่ นครศรีธรรมราช และ พังงา) เพิ่มขึ้น10% รายงาน 102 113 10.78 กลุ่มงานคุ้มครองฯ
  1.2.2 ร้อยละของศูนย์เวลเนส(Wellness Center)/แหล่งท่องเที่ยงเชิงสุขภาพที่ได้รับการยกระดับแบบมีส่วนร่วม และสร้างสรรค์ด้านภูมิปัญญาการกลุ่มงานคุ้มครองฯ การแพทย์ทางเลือก และสมุนไพรให้มีคุณค่าและมูลค่าสูงเพิ่มขึ้น เป้าหมายเขตละ 1 อย่างน้อย (มุ่งเน้นจังหวัดท่องเที่ยว 22 จังหวัด พระนครศรีอยุธยา, สมุทรปราการ, สมุทรสาคร,สระบุรี , เชียงใหม่, ขอนแก่น, นครราชสีมา, ภูเก็ต, สุราษฎร์ธานี , กาญจนบุรี, ประจวบคีรีขันธ์, กรุงเทพมหานคร, นครปฐม, นนทบุรี, ปทุมธานีเพชรบุรี, ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, กระบี่, พังงา, และ สงขลา) 20%จากปีที่ผ่านมา (36แห่ง) ≥ 1 รายงาน 1 1 100.00 กลุ่มงานแพทย์แผนไทย
  1.2.3 ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการส่งเสริมและได้รับการอนุญาต (ร้อยละ 50 ของจำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการส่งเสริมและอนุญาตจากจำนวนผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการส่งเสริม/เขตสุขภาพ) เป้าหมายหลัก สุราษฎร์ธานี เป้าหมายรอง นครศรีฯ พังงา ≥ 50% รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานคุ้มครองฯ
ประเด็นที่ 2 ระบบสุขภาพปฐมภูมิ
 2.1 จำนวนการจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ.2562 (เป้าหมายประเทศ 3500 ทีม) เป้าหมายจังหวัดนคร 10 ปี ปี2563-2573 จำนวน 140 ทีม ปี65=50% ≥ 52% รายงาน 140 79 56.43 กลุ่มงานพัฒฯ
 2.2 จำนวนประชาชนคนไทยมีหมอประจำตัว 3 คน(เป้าประเทศ 35 ล้านคน)ปี65=50% ≥ 57% 3 DOCTOR 1,011,699 943,297 93.24 กลุ่มงานพัฒฯ
 2.3 ร้อยละของอำเภอผ่านเกณฑ์การประเมินการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่มีคุณภาพ (ปี 65=75%) ≥ 85% CL UCCARE 23 23 100.00 กลุ่มงานพัฒฯ
Functional based (ระบบงานของหน่วยบริการ)
ประเด็นที่ 3 สุขภาพกลุ่มวัย และการยกระดับบริการผู้สูงอายุ
 3.1 กลุ่มวัย
  3.1.1 อัตราส่วนการตายมารดาไทย ไม่เกิน 17 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน < 17 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน รง.ก2 50 0 0.00 กลุ่มงานส่งเสริม
  3.1.2 อัตราตายทารกแรกเกิด อายุต่ำกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน* < 3.6 ต่อ 1000 ทารกเกิดมีชีพ HDC 8,762 60 6.85 กลุ่มงานส่งเสริม
  3.1.3 ร้อยละของเด็กปฐมวัย มีพัฒนาการสมวัย* ≥ 86% HDC 54,951 47,435 86.32 กลุ่มงานส่งเสริม
  3.1.4 ร้อยละของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการคัดกรองแล้วพบว่ามีพัฒนาการล่าช้าแล้วได้รับการกระตุ้นพัฒนาการด้วย TEDA4I หรือเครื่องมือมาตรฐานอื่น จนมีพัฒนาการสมวัย ≥ 35% HDC 162 80 49.38 กลุ่มงานส่งเสริม
  3.1.5 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน* ≥ 66% HDC 54,056 33,873 62.66 กลุ่มงานส่งเสริม
  3.1.6 ร้อยละของเด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันผุ ≥ 75% HDC 6,707 5,087 75.85 กลุ่มงานทัตกรรม
  3.1.7 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ ≤ 8 ต่อประชากรแสนคน HDC 1,208,353 10 0.83 งานสุขภาพจิต
  3.1.8 ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต ปี65=74% ≥ 80% HDC 29,429 28,557 97.04 งานสุขภาพจิต
  3.1.9 ร้อยละของผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับมาทำร้ายตัวเองซ้ำในระยะเวลา 1 ปี ≥ 97% รง.506s 0 0 0.00 งานสุขภาพจิต
 3.2 ผู้สูงอายุ
  3.2.1 ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีคลินิกผู้สูงอายุ 100% รายงาน 23 23 100.00 กลุ่มงานส่งเสริม
  3.2.2 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรองและพบว่าเป็น Geriatric syndromes เสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อมหรือภาวะหกล้มและได้รับการดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ(รพ.M2 ขึ้นไป)
   - ร้อยละของผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรองและพบว่าเป็นภาวะสมองเสื่อม และได้รับการดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ (เป้าหมาย 1 แห่งต่อ 1 เขตสุขภาพ) ≥ 40% รายงาน 74 74 100.00 กลุ่มงานส่งเสริม
   - ร้อยละของผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรองและพบว่าเป็นภาวะหกล้ม และได้รับการดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ (เป้าหมาย 1 แห่งต่อ 1 เขตสุขภาพ) ≥ 40% รายงาน 79 79 100.00 กลุ่มงานส่งเสริม
  3.2.3 ร้อยละของผู้สูงอายุมีแผนส่งเสริมสุขภาพดี (Wellness Plan) ≥ 50% รายงาน 634 513 80.91 กลุ่มงานส่งเสริม
  3.2.4 ร้อยละของผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลตาม Care Plan ≥ 90% 3C 451 444 98.45 กลุ่มงานส่งเสริม
  3.2.5 จำนวนชมรมผู้สูงอายุที่ดำเนินการด้านสุขภาพ (1ชมรม/ตำบล) 1ชมรม/ตำบล รายงาน 173 0 0.00 กลุ่มงานส่งเสริม
  3.2.6 จำนวนผู้ที่ได้รับบริการใส่ฟันเทียม/รากฟันเทียม(ฟันเทียม 36,000 ราย และรากฟันเทียม 3,500 ราย ทั่วประเทศ) เป้าจังหวัดนครศรีฯ ฟันเทียม 1,098 ราย รากฟันเทียม 90 ราย 4 หน่วยงาน
   - จำนวนผู้ที่ได้รับบริการใส่ฟันเทียม 100% HDC + HDC 1,098 2,129 193.90 กลุ่มงานทัตกรรม
   - จำนวนผู้ที่ได้รับบริการใส่รากฟันเทียม 100% HDC 90 4 4.44 กลุ่มงานทัตกรรม
ประเด็นที่ 4 Digital Health (ระบบข้อมูลสุขภาพและเทคโนโลยีทางการแพทย์)
 4.1 จังหวัดที่มีบริการการแพทย์ทางไกลตามเกณฑ์ที่กำหนด (รอบ 1: 50%ของจังหวัดในเขต/จังหวัดละอย่างน้อย 3 รพ. รอบ 2: การให้บริการการแพทย์ทางไกลรวมทุกรพ.ในจังหวัดไม่น้อยกว่า 3,500 ครั้ง)
  4.1.1 จำนวนจังหวัดที่มีการให้บริการการแพทย์ทางไกล 100% HDC 1 1 100.00 กลุ่มงานยุทธศาสตร์
  4.1.2 จำนวนโรงพยาบาลที่มีการให้บริการการแพทย์ทางไกล ≥ 3 แห่ง HDC 3 13 433.33 กลุ่มงานยุทธศาสตร์
  4.1.3 จำนวนการให้บริการของโรงพยาบาลที่มีการให้บริการการแพทย์ทางไกล 3,500 ครั้ง HDC 3,500 1,925 55.00 กลุ่มงานยุทธศาสตร์
 4.2 ร้อยละของจังหวัดที่ประชาชนไทย มี ดิจิทัลไอดี เพื่อการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพแบบไร้รอยต่อ
  4.2.1 ร้อยละของบุคลากรสาธารณสุข มี ดิจิทัลไอดี ≥ 50% IDP Center 8,060 7,631 94.68 กลุ่มงานยุทธศาสตร์
  4.2.2 ร้อยละของประชาชน มี ดิจิทัลไอดี เพื่อเข้าถึงข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคล และเข้าถึงระบบบริการสุขภาพแบบไร้รอยต่อ ≥ 10% IDP Center 1,208,353 415,135 34.36 กลุ่มงานยุทธศาสตร์
 4.3 ร้อยละเขตสุขภาพที่ใช้ระบบ AI DR screening กรมการแพทย์ ในการตรวจคัดกรองเบาหวานขึ้นจอตา เขตละ1แห่ง รายงาน 1 0 0.00 กลุ่มงานยุทธศาสตร์ (ระดับเขต)
ประเด็นที่ 5 ลดป่วย ลดตาย และการสร้างความมั่นคงทางสุขภาพ
 5.1 ลดอัตราผู้ป่วยรายใหม่
  5.1.1 ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน* ≥ 70% HDC 4,436 3,215 72.48 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
  5.1.2 ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง* ≥ 93% HDC 21,785 20,939 96.12 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
  5.1.3 ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี* ≥ 40% HDC 86,252 30,388 35.23 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
  5.1.4 ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันได้ดี* ≥ 60% HDC 187,570 100,048 53.34 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
 5.2 ลดป่วย ลดตาย
สาขาหัวใจ (STEMI)
  5.2.1 อัตราตายของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI < 9% HDC 573 44 7.68 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
  5.2.2 การให้การรักษาผู้ป่วย STEMI ได้ตามมาตรฐานเวลาที่กำหนด
   - ร้อยละผู้ป่วย STEMI ได้รับยาละลายลิ่มเลือดภายใน 30 นาทีหลังได้รับการวินิจฉัย ≥ 60% รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
   - ร้อยละของผู้ป่วย STEMI ที่ได้รับการทำ Primary PCI ได้ตามมาตรฐานเวลาที่กำหนด ≥ 60% รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
สาขาโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke)
  5.2.3 อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและได้รับการรักษาใน Stroke Unit
   - อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke :I60-I69) < 7% HDC 5,984 521 8.71 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
   - ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) ที่มีอาการไม่เกิน 72 ชั่วโมงได้รับการรักษาใน Stroke Unit ≥ 80% รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
   - ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (I63) ที่เข้าเกณฑ์ได้รับการรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำภายใน 60 นาที ≥ 65% รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
สาขาโรคมะเร็ง (Cancer)
  5.2.4 ร้อยละของผู้ที่ได้รับการคัดกรองมะเร็ง
   - ร้อยละของผู้ที่ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ≥ 60% HDC 266,361 100,307 37.66 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
   - ร้อยละของผู้ที่มีผลผิดปกติ (มะเร็งปากมดลูก) ได้รับการส่องกล้อง Colposcopy ≥ 70% รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
   - ร้อยละของผู้ที่ได้รับการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง ≥ 50% HDC 329,496 30,148 9.15 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
   - ร้อยละของผู้ที่มีผลผิดปกติ (มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ผิดปกติ) ได้รับการส่องกล้อง Colonoscopy ≥ 50% HDC 3,276 1,183 36.11 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
   - ร้อยละของประชาชนอายุ 40 ปีขึ้นไปที่มารับบริการ ได้รับการตรวจช่องปากและคัดกรองรอยโรคในช่องปาก ≥ 40% HDC + HDC 128,183 57,016 44.48 กลุ่มงานทัตกรรม
   - ผู้ที่มีรอยโรคเสี่ยงมะเร็งและมะเร็งช่องปากที่เข้าเกณฑ์ได้รับการตัดชิ้นเนื้อ (biopsy) และตรวจทางพยาธิวิทยา ได้รับการตัดชิ้นเนื้อ (biopsy) และตรวจทางพยาธิวิทยาที่เหมาะสม 100% รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานทัตกรรม
สาขาอายุรกรรม (Sepsis)
  5.2.5 อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired < 26% HDC 1,577 489 31.01 กลุ่มงานพัฒฯ
  5.2.6 สร้างระบบ Rapid Response System และ Rapid Response Team ในโรงพยาบาลประจำจังหวัด (ระดับ A และ S) ตามเกณฑ์ที่กำหนด 100% รายงาน 2 0 0.00 กลุ่มงานพัฒฯ
 5.3 อุบัติเหตุและฉุกเฉิน
  5.3.1 อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (triage level 1) ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 (ทั้งที่ ER และ Admit) น้อยกว่าร้อยละ 12 (Trauma < 12%, Non-trauma < 12%) < 12% HDC 1,160 189 16.29 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
  5.3.2 ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน (รพ.ระดับ A S M1) ≥ 26.5% ITEMS 0 0 0.00 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
  5.3.3 อัตราการเสียชีวิตในผู้ป่วยบาดเจ็บที่สมอง (Traumatic Brain Injury Mortality) < 25% รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
  5.3.4 Smart ER ใน A, S, M1 > 60 % > 60% รายงาน 4 0 0.00 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
  5.3.5 ER คุณภาพ ใน M2 > 60 % > 60% รายงาน 2 0 0.00 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
 5.4 ความมั่นคงทางสุขภาพ
  5.4.1 ความครอบคลุมการฉีดวัคซีนโควิด-19 ในกลุ่ม 607 (ไม่รวมกลุ่มหญิงวัยเจริญพันธุ์) ≥ 90% รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานควบคุมโรค
  5.4.2 ความครอบคลุมการฉีดวัคซีนโควิด-19 ในกลุ่มหญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 15-45 ปี ≥ 90% รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานควบคุมโรค
  5.4.3 มีระบบ Situation Awareness ที่มีประสิทธิภาพ
   - มีผู้ปฏิบัติงาน SAT ที่ผ่านการอบรมอย่างเพียงพอ 100% รายงาน 1 0 0.00 กลุ่มงานควบคุมโรค
   - มีการจัดทำ CIR ระดับจังหวัดและระดับเขตที่ชัดเจน ได้รับความเห็นชอบจาก นพ.สสจ.และผู้ตรวจราชการ 100% รายงาน 1 0 0.00 กลุ่มงานควบคุมโรค
  5.4.4 ร้อยละของผู้บริหารระดับจังหวัดที่ผ่านการอบรมหลักสูตร ICS&EOC 100 100% รายงาน 1 0 0.00 กลุ่มงานควบคุมโรค
  5.4.5 มีทีม CDCU ที่ผ่านการฝึกอบรมไม่น้อยกว่าอำเภอละ 3 ทีม 3ทีม/อำเภอ รายงาน 23 0 0.00 กลุ่มงานควบคุมโรค
  5.4.6 มี Official Document ของหน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัดที่ระบุภัยที่สำคัญอย่างน้อย 3 ภัย ≥ 3ภัย รายงาน 3 3 100.00 กลุ่มงานควบคุมโรค
  5.4.7 Resource Mapping สำหรับการรับมือภ้ยที่สำคัญ ≥ 1 รายงาน 1 0 0.00 กลุ่มงานควบคุมโรค
  5.4.8 มี Operational Plans สำหรับ 3 ภัยที่สำคัญ โดยระบุระบบบัญชาการที่สอดคล้องกับภัยที่สำคัญทั้ง 3 ภัยไว้ด้วย ≥ 3 รายงาน 3 0 0.00 กลุ่มงานควบคุมโรค
  5.4.9 มีแผน BCP สำหรับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป ที่สอดคล้องกับ operational plan 100% รายงาน 1 1 100.00 กลุ่มงานควบคุมโรค
ประเด็นที่ 6 องค์กรสมรรถนะสูง
 การเงินการคลังสุขภาพ
 6.1 ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน (ระดับ 6,ระดับ 7)
  6.1.1 ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน ระดับ 7 ≤ 2% รายงาน 23 0 0.00 กลุ่มงานประกัน
  6.1.2 ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน ระดับ 6 ≤ 4% รายงาน 23 0 0.00 กลุ่มงานประกัน
 6.2 ร้อยละของการกำกับติดตามแผนการลงทุนตามนโยบายการลงทุน Hospital Investment Performance (HIP.) (หน่วยบริการเบิกจ่ายเงินบำรุงลงทุน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30) ≥ 30% รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานบริหาร
กลุ่มงานประกัน
Area based (การแก้ปัญหาที่สำคัญระดับพื้นที่)
ประเด็นที่ 7 การแก้ปัญหาที่สำคัญระดับพื้นที่
 7.1 Maritime
  7.1.1 อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำ ลดลงน้อยกว่าเดิม 20 % หรือไม่เกิดอุบัติการณ์ ≥ 20% รายงาน 2 0 100.00 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
  7.1.2 โรคและอุบัติการณ์การจมน้ำ มีจำนวนลดลง น้อยกว่าเดิม 20% ≥ 20% รายงาน 2 0 100.00 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
  7.1.3 โรคและอุบัติการณ์ทางทะเล มีจำนวนลดลง น้อยกว่าเดิม 20% ≥ 20% รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
  7.1.4 L.1 & 2 พื้นที่ทางทะเล เข้าถึง EMS > 90% > 90% รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
 7.2 Innovative healthcare
  7.2.1 Virtual Hospital จังหวัด ≥ 1 ชิ้นงาน ≥ 1 รายงาน 1 9 900.00 กลุ่มงานยุทธศาสตร์

จัดทำโดย งานข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช | ร่วมพัฒนา/แจ้งปัญหาการใช้งาน