ตัวชี้วัดกระทรวง 2568

ตัวชี้วัดกระทรวง 2568
ตัวชี้วัด เกณฑ์ แหล่งข้อมูล การดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ
เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ
1. ยุทธศาสตร์ด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (PP&P Excellence)
แผนงานที่ 1 : การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้านสุขภาพ)
 1. โครงการพัฒนาและสร้างศักยภาพคนไทยทุกกลุ่มวัย
  1. อัตราส่วนการตายมารดาไทยต่อการเกิดมีชีพแสนคน < 17 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน รง.ก2 50 0 0.00 กลุ่มงานส่งเสริม
  2. ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย ≥ 86% HDC 2,320 2,143 92.37 กลุ่มงานส่งเสริม
  3. ร้อยละของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการคัดกรองแล้วพบว่ามีพัฒนาการล่าช้า แล้วได้รับการกระตุ้นพัฒนาการด้วย TEDA4I หรือเครื่องมือมาตรฐานอื่น จนมีพัฒนาการสมวัย ≥ 35% HDC 162 80 49.38 กลุ่มงานส่งเสริม
  4. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อจำนวนประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี 1,000 คน ≤ 23% HDC 40,902 257 6.28 กลุ่มงานส่งเสริม
  5. ร้อยละของผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลตาม Care Plan ≥ 95% 3C 451 444 98.45 กลุ่มงานส่งเสริม
  6. ร้อยละของผู้สูงอายุมีแผนส่งเสริมสุขภาพดี (Wellness Plan) ≥ 50% รายงาน 634 513 80.91 กลุ่มงานส่งเสริม
  7. ร้อยละของผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรอง พบว่าเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อมหรือภาวะหกล้มและได้รับการดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ
   - ร้อยละของผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรองและพบว่าเป็นภาวะสมองเสื่อม และได้รับการดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ ≥ 40% รายงาน 74 74 100.00 กลุ่มงานส่งเสริม
   - ร้อยละของผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรองและพบว่าเป็นภาวะหกล้ม และได้รับการดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ ≥ 40% รายงาน 79 79 100.00 กลุ่มงานส่งเสริม
  8. ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีคลินิกผู้สูงอายุ 100% รายงาน 23 23 100.00 กลุ่มงานส่งเสริม
 2. โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชากร
  9. อัตราความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน ≥ 70% รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานพัฒฯ
แผนงานที่ 2 : การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
 3. โครงการการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
  10. ร้อยละของอำเภอผ่านเกณฑ์การประเมินการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่มีคุณภาพ ≥ 85% CL UCCARE 23 23 100.00 กลุ่มงานพัฒฯ
แผนงานที่ 3 : การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
 4. โครงการพัฒนาระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและภัยสุขภาพ
  11. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการจัดการภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข (Emergency Care System and Public Health Emergency Management) ครบทั้ง4ระดับ รายงาน 4 ระดับ 0 ระดับ 0.00 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
 5. โครงการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
  12. ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน และ/หรือความดันโลหิตสูง
   - ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ≥ 70% HDC 4,436 3,215 72.48 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
   - ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง ≥ 93% HDC 21,785 20,939 96.12 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
  13. ร้อยละของจังหวัดต้นแบบการดำเนินงานตาม พ.ร.บ.ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 ≥ 4ข้อ รายงาน 4 ข้อ 0 ข้อ 0.00 กลุ่มงานอนามัยฯ
 6. โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ
  14. ร้อยละผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการส่งเสริมและได้รับการอนุญาต ≥ 50% รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานแพทย์แผนไทย
  15. ร้อยละสถานที่จำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามกฎหมายกำหนด ≥ 30% รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานแพทย์แผนไทย
แผนงานที่ 4 : การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
 7. โครงการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
  16. ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital Challenge (ระดับมาตรฐานขึ้นไป) ≥ 30% รายงาน 23 22 95.65 กลุ่มงานอนามัยฯ
2. ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
แผนงานที่ 5 : การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ
 8. โครงการพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ
  17. จำนวนการจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 ≥ 52% รายงาน 140 79 56.43 กลุ่มงานพัฒฯ
  18. จำนวนประชาชนคนไทย มีหมอประจำตัว 3 คน ≥ 57% 3 DOCTOR 1,011,699 943,297 93.24 กลุ่มงานพัฒฯ
 9. โครงการพัฒนาเครือข่ายกำลังคนด้านสุขภาพ และอสม.
  19. ร้อยละของชุมชนมีการดำเนินการจัดการสุขภาพที่เหมาะสมกับประชาชน ≥ 75% HEALTH GATE 1,590 1,275 80.19 กลุ่มงานพัฒฯ
แผนงานที่ 6 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
 10. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
  20. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และได้รับการรักษาใน Stroke Unit
   - อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke: I60-I69) < 7% HDC 5,984 521 8.71 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
   - ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) ที่มีอาการไม่เกิน 72 ชั่วโมง ได้รับการรักษาใน Stroke Unit ≥ 80% รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
 11. โครงการพัฒนาระบบริการโรคติดต่อ โรคอุบัติใหม่ และโรคอุบัติซ้ำ
  21. อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
   - อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
   - อัตราความครอบคลุมการขึ้นทะเบียนของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ
 12. โครงการป้องกันและควบคุมการดื้อยาต้านจุลชีพและการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
  22. ร้อยละของจังหวัดที่ผ่านตามเกณฑ์พัฒนาสู่จังหวัดใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU province) ที่กำหนด
  23. อัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือด
 13. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาทารกแรกเกิด
  24. อัตราตายทารกแรกเกิดอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน < 3.6 ต่อ 1000 ทารกเกิดมีชีพ HDC 8,762 60 6.85 กลุ่มงานส่งเสริม
 14. โครงการการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองและการดูแลผู้ป่วยกึ่งเฉียบพลัน
  25. ร้อยละการให้การดูแลตามแผนการดูแลล่วงหน้า (Advance Care Planning) ในผู้ป่วยประคับประคองอย่างมีคุณภาพ กลุ่มงานส่งเสริม
 15. โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์แผนไทยฯ
  26. ร้อยละของจำนวนผู้ป่วยที่มีการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ์ อัมพาตระยะกลาง (Intermediate Care) ที่ได้รับการดูแลด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (Community base) กลุ่มงานส่งเสริม
  27. ร้อยละของประชาชนที่มารับบริการในระดับปฐมภูมิได้รับการรักษาด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ≥ 35% HDC 931,189 397,879 42.73 กลุ่มงานคุ้มครองฯ
 16. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช
  28. ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต ≥ 80% HDC 29,429 28,557 97.04 งานสุขภาพจิต
  29. อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ
   - อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ ≤ 8 ต่อประชากรแสนคน ≤ 8% HDC 0 10 0.00 งานสุขภาพจิต
   - ร้อยละของผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับมาทำร้ายตัวเองซ้ำในระยะเวลา 1 ปี ≥ 80% รายงาน 0 0 0.00 งานสุขภาพจิต
 17. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 5 สาขาหลัก
  30. อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired กลุ่มงานพัฒฯ
  31. Refracture Rate กลุ่มงานพัฒฯ
 18. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคหัวใจ
  32. อัตราตายของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI และการให้การรักษาตามมาตรฐานตามเวลาที่กำหนด
   - อัตราตายของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI < 9% HDC 573 44 7.68 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
   - ร้อยละของการให้การรักษาผู้ป่วย STEMI ได้ตามมาตรฐานเวลาที่กำหนด
    • ร้อยละของผู้ป่วย STEMI ที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือดได้ตามมาตรฐานเวลาที่กำหนด < 9% รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
    • ร้อยละของผู้ป่วย STEMI ที่ได้รับการทำ Primary PCI ได้ตามมาตรฐานเวลาที่กำหนด ≥ 60% รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
 19. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคมะเร็ง
  33. ร้อยละของผู้ที่ได้รับการคัดกรองมะเร็ง
   - ร้อยละของผู้ที่ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ≥ 60% HDC 266,361 100,307 37.66 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
   - ร้อยละของผู้ที่มีผลผิดปกติ (มะเร็งปากมดลูก) ได้รับการส่องกล้อง Colposcopy ≥ 70% รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
   - ร้อยละของผู้ที่ได้รับการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง ≥ 50% HDC 329,496 30,148 9.15 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
   - ร้อยละของผู้ที่มีผลผิดปกติ (มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ผิดปกติ) ได้รับการส่องกล้อง Colonoscopy ≥ 50% HDC 3,276 1,183 36.11 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
 20. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไต
  34. ร้อยละผู้ป่วย CKD ที่มี eGFR ลดลงน้อยกว่า 5 ml/min/1.73m2/yr ≥ 66% HDC 13,063 8,094 61.96 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
 21. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาจักษุวิทยา
  35. ร้อยละผู้ป่วยต้อกระจกชนิดบอด (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัด ภายใน 30 วัน
 22. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาปลูกถ่ายอวัยวะ
  36. อัตราส่วนของจำนวนผู้บริจาคอวัยวะสมองตายที่ได้รับการผ่าตัดนำอวัยวะออก ต่อจำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล (โรงพยาบาล A, S)
 23. โครงการพัฒนาระบบบริการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาเสพติด
  37. ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดเข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate) งานสุขภาพจิต
 24. โครงการการบริบาลฟื้นสภาพระยะกลาง (Intermediate care; IMC)
  38. ร้อยละของ ผู้ป่วย Intermediate care * ได้รับการบริบาลฟื้นสภาพและติดตามจนครบ 6 เดือน หรือจน Barthel index = 20 ก่อนครบ 6 เดือน
 25. โครงการพัฒนาระบบบริการ one day surgery
  39. ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดแบบ One Day Surgery
  40. ร้อยละของการ Re-admit ภายใน 1 เดือน จากการผ่าตัดโรคต่างๆ ในโครงการ ODS/MIS ผ่านการผ่าตัดแผลเล็ก (Minimally Invasive Surgery : MIS)
 26. โครงการกัญชาทางการแพทย์
  41. ระดับความสำเร็จของการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์
   - ร้อยละของผู้ป่วยที่มีการวินิจฉัยระยะประคับประคอง (Palliative care) ที่ได้รับการรักษาด้วยยากัญชาทางการแพทย์ ≥ 5% HDC 3,736 328 8.78 กลุ่มงานแพทย์แผนไทย
   - ร้อยละของผู้ป่วยทั้งหมดที่ได้รับการรักษาด้วยยากัญชาทางการแพทย์ ≥ 50% HDC 164 2,223 1,255.49 กลุ่มงานแพทย์แผนไทย
   - จำนวนงานวิจัยหรือการจัดการความรู้ด้านกัญชาทางการแพทย์ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (งานวิจัยอย่างน้อยเขตสุขภาพละ 2 เรื่อง และการจัดการความรู้ อย่างน้อยเขตสุขภาพละ 2 เรื่อง) ระดับจังหวัด งานวิจัย ≥1 เรื่อง และการจัดการความรู้ ≥1 เรื่อง 2 เรื่อง รายงาน 1 + 1 0 + 0 0.00 กลุ่มงานแพทย์แผนไทย
แผนงานที่ 7 : การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ
 27. โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ
  42. อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (Triage level 1) ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 (ทั้งที่ ER และ Admit) < 12% HDC 1,160 189 16.29 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
  43. ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ≥ 26.5% ITEMS 0 0 0.00 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
  44. อัตราการเสียชีวิตในผู้ป่วยบาดเจ็บที่สมอง (traumatic brain injury mortality) < 25% รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานโรคไม่ติดต่อ
แผนงานที่ 8 : การพัฒนาตามโครงการพระราชดำริ โครงการเฉลิมพระเกียรติ และพื้นที่เฉพาะ
 28. โครงการพระราชดำริ โครงการเฉลิมพระเกียรติ และโครงการพื้นที่เฉพาะ
  45. ร้อยละผู้ป่วยในพระบรมราชานุเคราะห์ และพระราชานุเคราะห์ ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพ ≥ 60% รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานยุทธศาสตร์
แผนงานที่ 9 : อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย
 29. โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและการแพทย์
  46. อัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ได้รับมาตรฐานตามที่กำหนด เพิ่มขึ้น 10% รายงาน 102 113 10.78 กลุ่มงานคุ้มครองฯ
  47. ร้อยละของศูนย์เวลเนส (Wellness Center) / แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ได้รับการยกระดับแบบมีส่วนร่วม และสร้างสรรค์ด้านภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก และสมุนไพรให้มีคุณค่าและมูลค่าสูงเพิ่มขึ้น ≥ 1 รายงาน 1 1 100.00 กลุ่มงานคุ้มครองฯ
3. ยุทธศาสตร์บุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence)
แผนงานที่ 10 : การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
 30. โครงการบริหารจัดการกำลังด้านสุขภาพ
  48. ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ
 31. โครงการ Happy MOPH กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแห่งความสุข
  49. หน่วยงานที่เป็นองค์กรแห่งความสุขที่มีคุณภาพ (ระดับจังหวัด/เขตสุขภาพ/กรม)
4. ยุทธศาสตร์บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล (Governance Excellence)
แผนงานที่ 11 : การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ
 32. โครงการประเมินคุณธรรมความโปร่งใส
  50. ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA
  51. ร้อยละของส่วนราชการและหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การตรวจสอบและประเมินผลระบบการควบคุมภายใน ≥ 82% รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานบริหาร
 33. โครงการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
  52. ร้อยละความสำเร็จของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ผ่านการประเมินตามเกณฑ์ที่กำหนด ผ่าน
PMQA
รายงาน ผ่าน ผ่านแล้ว 100.00 กลุ่มงานพัฒฯ
  53. ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3
   - ร้อยละของโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 100% รายงาน 4 0 0.00 กลุ่มงานพัฒฯ
   - ร้อยละของโรงพยาบาลชุมชนมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 ≥ 90% รายงาน 19 1 5.26 กลุ่มงานพัฒฯ
  54. สถานบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตามนโยบาย EMS (Environment, Modernization and Smart Service)
   - ร้อยละสถานบริการ ระดับ รพศ./รพท. ที่ผ่านเกณฑ์ประเมินฯ ขั้นพื้นฐาน (The Must) ≥ 60 รายงาน 4 3 75.00 กลุ่มงานพัฒฯ
   - ร้อยละสถานบริการ ระดับ รพช. ที่ผ่านเกณฑ์ประเมินฯ ขั้นพื้นฐาน (The Must) ≥ 60 รายงาน 19 7 36.84 กลุ่มงานพัฒฯ
   - ร้อยละสถานบริการ ระดับ รพศ./รพท./รพช. ที่ผ่านเกณฑ์ประเมินฯ ขั้นสูง (The Best) (เขตสุขภาพละ ≥ 2 แห่ง) ≥ 2 รายงาน 2 6 300.00 กลุ่มงานพัฒฯ
  55. ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีการปรับโฉม Smart Hospital (Smart ER / Modernize OPD / มีการใช้พลังงานสะอาด) ≥ 70% รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานยุทธศาสตร์
  56. ร้อยละของสถานบริการที่มีการดำเนินงานสื่อสารเชิงรุก ≥ 80% รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานพัฒฯ
แผนงานที่ 12 : การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ
 34. โครงการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารเทคโนโลยีสุขภาพแห่งชาติ
  57. ร้อยละของจังหวัดที่ประชาชนไทย มี ดิจิทัลไอดี เพื่อการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพแบบไร้รอยต่อ
   - ร้อยละของบุคลากรสาธารณสุข มี ดิจิทัลไอดี ≥ 50% IDP Center 8,060 7,631 94.68 กลุ่มงานยุทธศาสตร์
   - ร้อยละของประชาชน มี ดิจิทัลไอดี เพื่อเข้าถึงข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคลและเข้าถึงระบบบริการสุขภาพแบบไร้รอยต่อ ≥ 80% IDP Center 1,208,353 415,135 34.36 กลุ่มงานยุทธศาสตร์
  58. จังหวัดที่มีบริการการแพทย์ทางไกลตามเกณฑ์ที่กำหนด
   - จำนวนจังหวัดที่มีการให้บริการการแพทย์ทางไกล 100% รายงาน 1 1 100.00 กลุ่มงานยุทธศาสตร์
   - จำนวนโรงพยาบาลที่มีการให้บริการการแพทย์ทางไกล ≥ 3 แห่ง รายงาน 3 4 133.33 กลุ่มงานยุทธศาสตร์
   - จำนวนการให้บริการของโรงพยาบาลที่มีการให้บริการการแพทย์ทางไกล 3,500 ครั้ง รายงาน 3 30 0.86 กลุ่มงานยุทธศาสตร์
แผนงานที่ 13 : การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ
 35. โครงการลดความเหลื่อมล้ำของ 3 กองทุน
  59. ความแตกต่างการใช้สิทธิ เมื่อไปใช้บริการผู้ป่วยในของผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (compliance rate)
  60. ระดับความสำเร็จของการปรับปรุงสิทธิประโยชน์กลางการดูแลปฐมภูมิของระบบหลักประกันสุขภาพ 3 ระบบ
 36. โครงการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง
  61. ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน
   - ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7 ≤ 2% รายงาน 23 0 0.00 กลุ่มงานประกัน
   - ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 6 ≤ 4% รายงาน 23 0 0.00 กลุ่มงานประกัน
แผนงานที่ 14 : การพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมด้านสุขภาพ
 37. โครงการพัฒนางานวิจัย/นวัตกรรมผลิตภัณฑ์สุขภาพและเทคโนโลยีทางการแพทย์
  62. จำนวนนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีสุขภาพที่คิดค้นใหม่หรือที่พัฒนาต่อยอด ≥ 15% เรื่อง รายงาน 0 0 0.00 กลุ่มงานยุทธศาสตร์

จัดทำโดย งานข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช | ร่วมพัฒนา/แจ้งปัญหาการใช้งาน